พระจอมเกล้าฯ ลาดกระบัง บ้านปูฯ หัวเว่ย และเทเช่น ลงนามความร่วมมือวิจัยและพัฒนาพลังงานแสงอาทิตย์

01 ก.ย. 2559 | 11:25 น.
อัปเดตล่าสุด :01 ก.ย. 2559 | 18:25 น.
รศ.ดร.คมสัน มาลีสี คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง นางสมฤดี ชัยมงคล ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท บ้านปู จำกัด (มหาชน) นายอมร หาญคำ ผู้จัดการทั่วไป บริษัท เทเช่น เทคโนโลยีส์ (ไทยแลนด์) จำกัด และ มร. เอริค หวัง ผู้อำนวยการส่วนภูมิภาค บริษัท หัวเว่ย เทคโนโลยี จำกัด ร่วมกันลงนามในสัญญาและบันทึกข้ อตกลงความร่วมมือด้านการวิจั ยและพัฒนาพลังงานแสงอาทิตย์ โดยมีจุดประสงค์เพื่อพั ฒนาและยกระดับโครงสร้างพื้ นฐานด้านพลังงานแสงอาทิตย์ ซึ่งเป็นพลังงานหมุนเวียนที่ยั่ งยืน พร้อมตั้งเป้าให้ประเทศไทยเป็ นศูนย์กลางด้านพลังงานแสงอาทิ ตย์ในภูมิภาคเอเชีย ณ งานวิศวกรรม’59 หรือ Engineering Expo 2016 ศูนย์แสดงสินค้าและนิ ทรรศการนานาชาติ (BITEC) กรุงเทพฯ

ความร่วมมือของ 4 พันธมิตรในครั้งนี้ ดำเนินการโดยมีวิสัยทัศน์ร่วมกั น คือ การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีด้ านพลังงาน ที่สอดรับกับทิศทางพลั งงานและเทคโนโลยีที่มีการเปลี่ ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา และเพื่อรองรับความต้องการด้ านพลังงานของประชากรที่เพิ่มขึ้ นอย่างต่อเนื่องในภูมิภาคเอเชีย

ทั้งนี้ การลงนามความร่วมมือและพิธี ลงนามในสัญญาในครั้งนี้ ได้ระบุความร่วมมือด้านการวิจั ยและพัฒนาพลังงานแสงอาทิตย์ ออกเป็น 3 ด้านหลัก ผ่านการลงนามระหว่าง 4 องค์กรชั้นนำ ได้แก่

·        การลงนามบันทึกความร่วมมือด้ านวิชาการ การวิจัยและพัฒนาพลังงาน และการพัฒนาฝึกอบรมมาตรฐานบุ คลากรด้านพลังงาน  ระหว่างสถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบั ง บริษัท บ้านปู จำกัด (มหาชน) และบริษัท เทเช่น เทคโนโลยีส์ (ไทยแลนด์) จำกัด

·        การลงนามบันทึกความร่วมมือเป็ นหุ้นส่วนธุรกิจการลงทุนด้านพลั งงาน ระหว่างบริษัท บ้านปู จำกัด (มหาชน) และบริษัท เทเช่น เทคโนโลยีส์ (ไทยแลนด์) จำกัด

·        การลงนามบันทึกความร่วมมือเป็ นหุ้นส่วนทางธุรกิจด้านเทคนิ คการจัดการพลังงาน ระหว่างบริษัท หัวเว่ย เทคโนโลยี จำกัด และบริษัท เทเช่น เทคโนโลยีส์ (ไทยแลนด์) จำกัด

รศ.ดร.คมสัน มาลีสี คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง กล่าวเกี่ยวกับการลงนามความร่ วมมือวิจัยและพัฒนาพลั งงานแสงอาทิตย์ในครั้งนี้ว่า “มหาวิทยาลัยได้กำหนดวิสัยทัศน์ ในการก้าวขึ้นเป็นผู้นำด้ านการค้นคว้าวิจัย การอนุรักษ์และพัฒนาพลั งงานทดแทนในทุกมิติ และด้วยความพร้อมด้านบุคลากร ผนวกกับคณาจารย์ผู้เชี่ ยวชาญในสถาบันฯ เราเชื่อมั่นว่า คนไทยมีศักยภาพที่เพี ยงพอในการพัฒนาเทคโนโลยีด้านพลั งงานสู่ระดับโลก และการลงนามความร่วมมือกั บภาคเอกชนที่เป็นผู้นำด้านพลั งงานในครั้งนี้จะเป็นการเปิดมิ ติใหม่สู่การพัฒนาอย่างเป็นรู ปธรรม เพื่อให้ประเทศไทยก้าวขึ้นเป็ นศูนย์กลางของเอเชียหรือระดั บโลกได้อย่างชัดเจน”

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง ได้เริ่มต้นติดตั้งระบบพลั งงานแสงอาทิตย์บนอาคาร ขนาด 4.3 เมกะวัตต์ พร้อมขยายเต็มพื้นที่ในทุ กอาคารของมหาวิทยาลัยอีกกว่า 10 เมกะวัตต์ เพื่อประหยัดค่าใช้จ่ายด้านพลั งงาน อีกทั้งยังเป็นต้นแบบในการใช้ พลังงานที่ยั่งยืน และเป็นศูนย์การเรียนรู้สำหรั บนักศึกษาและสาธารณะอีกด้วย ในฐานะสถาบันการศึกษา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้ าคุณทหารลาดกระบังเชื่อมั่นว่า การลงนามความร่วมมือในครั้งนี้ จะช่วยยกระดับมาตรฐานบุคลากรด้ านพลังงานของประเทศผ่านการช่ วยเหลือด้านต่างๆ จากภาคเอกชน และผลักดันให้ประเทศไทยเป็นศู นย์กลางด้านพลังงานแสงอาทิตย์ แห่งเอเชีย

นางสมฤดี ชัยมงคล ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท บ้านปู จำกัด (มหาชน) ผู้นำด้านธุรกิจพลังงานแห่ งเอเชียที่ดำเนินธุรกิจด้ านการจัดหาแหล่งพลังงาน และการผลิตกระแสไฟฟ้ามากว่า 30 ปี กล่าวว่า “บ้านปูฯ มีความยินดีกับอีกก้าวสำคั ญของบริษัทฯ ในวันนี้ที่ได้ร่วมมือกับผู้เชี่ ยวชาญด้านพลังงานแสงอาทิตย์ทั้ งจากสถาบันการศึกษาชั้นนำ และภาคเอกชน ความร่วมมือดังกล่าวนี้เป็ นไปตามกลยุทธ์การดำเนินธุรกิ จเพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืน และจะช่วยสนับสนุนให้บ้านปูฯ สามารถเพิ่มกำลังการผลิตไฟฟ้ าให้ได้ 4,300 เมกะวัตต์เทียบเท่า ภายในปี 2568 โดยจะประกอบไปด้วยพลังงานหมุ นเวียนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 20 อีกทั้งยังเป็นแนวทางการดำเนิ นธุรกิจที่ยั่งยืน ตั้งแต่ต้นน้ำถึงปลายน้ำ ซึ่งความร่วมมือดังกล่าวจะเป็ นธุรกิจส่วนปลายน้ำที่จะช่วยสร้ างมูลค่าในห่วงโซ่อุปทาน และยังเป็นการพัฒนาพลังงานหมุ นเวียนที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้ อมอีกด้วย ”

นายอมร หาญคำ ผู้จัดการทั่วไป บริษัท เทเช่น เทคโนโลยีส์ (ไทยแลนด์) จำกัด ผู้นำด้านการวิจัยและพั ฒนาระบบการจัดการพลังงานอัจฉริ ยะที่เรียกว่า Smart Energy Management Systems (SEMS) กล่าวว่า “เทเช่นมุ่งลงทุนด้านการวิจั ยและพัฒนาเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ คุณภาพและประสิทธิภาพสูงสู่ระดั บโลก พร้อมตั้งฐานการผลิตในไทย โดยตั้งโรงงานผลิตแผงโซลาร์ เซลล์ ขนาด 300 เมกกะวัตต์ที่จังหวัดชลบุรี เพื่อรองรับการเติบโตของการใช้ พลังงานแสงอาทิตย์ที่มีแนวโน้ มสูงมากทั้งในประเทศไทยและภูมิ ภาคเอเชียแปซิฟิก  เทเช่นและพันธมิตรจึงได้ร่วมกั บสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง ในการจัดตั้งศูนย์วิจัยและพั ฒนาด้านพลังงานหมุนเวี ยนแบบครบวงจร พร้อมเป็นศูนย์การเรียนรู้และพั ฒนาบุคลากรด้านพลังงาน (Standard of Practice) สู่ความเป็นมาตรฐาน รวมทั้งตั้งเป้าหมายให้เป็นศู นย์ทดสอบคุ ณภาพและกำหนดมาตรฐานของอุปกรณ์ พลังงาน เพื่อให้บริการแก่ภาคธุรกิจทั้ งในประเทศไทยและภูมิภาคเอเชีย”

มร. เอริค หวัง ผู้อำนวยการส่วนภูมิภาค บริษัท หัวเว่ย เทคโนโลยี จำกัด กล่าวว่า “หัวเว่ยมีเทคโนโลยีด้านเครือข่ ายและระบบโทรคมนาคมระดับโลก และยังเป็นผู้ผลิตอุปกรณ์และติ ดตั้งระบบโครงสร้างพื้ นฐานของระบบโทรศัพท์รายใหญ่ อันดับ1 ของโลก  ซึ่งที่ผ่านมาเราได้ทุ่มทุนด้ านงานวิจัยด้านพลังงานแสงอาทิ ตย์ที่ผสานระบบเครือข่ายเพื่อจั ดการพลังงานที่มีความถูกต้อง แม่นยำและครอบคลุมได้ทั่วโลก ที่เรียกว่า “Huawei  FusionSolar” การลงนามความร่วมมือวิจัยและพั ฒนาพลังงานแสงอาทิตย์ในครั้งนี้ เป็นการต่อยอดความก้าวหน้ าทางเทคโนโลยี และแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ ซึ่งบริษัทฯ รู้สึกเป็นเกียรติและภูมิใจเป็ นอย่างยิ่งที่ได้ นำเสนอโครงการนี้”