จากกรณีที่ กรุงเทพมหานคร (กทม.) เตรียมลงพื้นที่สำรวจที่ดินและสิ่งปลูกสร้างที่ตั้งอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร เพื่อใช้จัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ประจำปีภาษี พ.ศ.2567 โดยอาศัยอำนาจตามความในมาตรา 27 แห่งพระราชบัญญัติภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ.2562 กำหนดระยะเวลาสำรวจตั้งแต่วันที่ 17 กรกฎาคม 2566 เป็นต้นไป
ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างเริ่มบังคับใช้เมื่อไหร่
ผู้มีหน้าที่เสียภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมีใครบ้าง
ที่ดินและสิ่งปลูกสร้างแตกต่างอย่างไร
สิ่งปลูกสร้าง คือ
ประเภทที่ดินที่ต้องเสียภาษี
ที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม
ที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย
ที่ดินเพื่อพาณิชยกรรม
ที่ดินรกร้างว่างเปล่า
วิธีการคำนวณภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
1. ที่ดินที่ไม่มีสิ่งปลูกสร้าง
ภาษีที่ต้องจ่าย = มูลค่าที่ดิน x อัตราภาษี
2. ที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
ภาษีที่ต้องจ่าย = (มูลค่าที่ดิน+มูลค่าสิ่งปลูกสร้าง) x อัตราภาษี
3. ห้องชุด
ภาษีที่ต้องจ่าย = มูลค่าห้องชุด x อัตราภาษี - มูลค่าที่ดิน = ราคาประเมินทุนทรัพย์ (ต่อ ตร.ว.) x ขนาดพื้นที่ดิน
ปี 2566 ปรับลด ภาษีที่ดิน 15% ของภาษีที่คำนวณได้
โดย ครม.มีมติเห็นชอบมาตรการลดภาษีที่ดิน 2566 เพื่อ
1. ลดภาระภาษี สนับสนุนการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจ หลังโควิด-19
2. สิ้นสุดระยะเวลาบรรเทาภาษีตาม พ.ร.บ.ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. 2562
3. ราคาประเมินทุนทรัพย์ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างในปี 2566 ซึ่งใช้เป็นฐานในการคำนวณภาษีที่ดินเพิ่มขึ้น
โดยลดภาษีให้ในอัตรา 15% ของจำนวนภาษีที่คำนวณได้สำหรับการจัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างของปีภาษี 2566 ซึ่งคาดว่าปี 2566 คนไทยจะเสียภาษีที่ดินเพิ่มขึ้น เนื่องจากราคาประเมินที่ดินใหม่ทั้งประเทศรอบปี 2566-2569 ปรับขึ้นเฉลี่ย 8%
การชำระภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
อัปเดตล่าสุดวันที่ 20 ก.ค.66 ผู้สื่อข่าวรายงานว่า กรุงเทพมหานคร ผลการจัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างและภาษีป้ายของ50สำนักเขตตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2565 - 31 พฤษภาคม 2566