หลังนายพิธา ลิ้มเจริญรัตน์ หัวหน้าพรรค และแคนดิเดตนายกฯ พรรคก้าวไกล (ก.ก.) ได้แถลงชัยชนะหลังทราบผลการเลือกตั้ง 2566 อย่างไม่เป็นทางการ และประกาศความพร้อมจัดตั้งรัฐบาล กับ 5 พรรคร่วมฝ่ายค้านเดิม รวม 310เสียง และเป็นนายกรัฐมนตรีของทุกคน
อย่างไรก็ตาม การจัดตั้งรัฐบาลที่สำเร็จนั้น จะต้องใช้เสียงรับรองผู้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี 376 เสียงของรัฐสภา คือทั้งจากสภาผู้แทนราษฎร(ส.ส.) และวุฒิสภา(ส.ว.) ซึ่งถูกบัญญัติไว้ในบทเฉพาะกาลของรัฐธรรมนูญ 2560 มาตรา 272 ที่ใน 5 ปีแรกของการใช้รัฐธรรมนูญ จะมี ส.ว. จำนวน 250 คน และต้องร่วมโหวตรับรองนายกรัฐมนตรี ร่วมกับ ส.ส. ด้วย
หลังจากส.ว. เริ่มทยอยแสดงความคิดเห็น ต่อการโหวตรับรองนายพิธา เป็นนายกรัฐมนตรี ก็กลายเป็นกระแสร้อนในโซเชียลมีเดีย จนแฮชแทก "ส.ว.มีไว้ทำไม" ติดเทรนด์ทวิตเตอร์อันดับหนึ่ง ของประเทศไทย พร้อมเกิดคำถามถอดถอนส.ว. ได้หรือไม่
กางกฎหมาย ส.ว. มีไว้ทำไม
ตามรัฐธรรมนูญ 2560 ในบทบัญญัติหลัก ส.ว. มีหน้าที่ดังต่อไปนี้
ส.ว.พ้นจากการเป็น ด้วยเหตุใดบ้าง
ตามรัฐธรรมนูญ 2560 มาตรา 111 บัญญัติว่า สมาชิกภาพของส.ว.สิ้นสุดลง เมื่อ
ลักษณะต้องห้าม ของส.ว.
ตามรัฐธรรมนูญ 2560 ส.ว.จะต้องสิ้นสุดสมาชิกภาพ หากมีลักษณะต้องห้ามดังนี้
ลักษณะต้องห้าม ใช้สิทธิสมัครรับเลือก ส.ว.
ผู้เป็นบุคคลต้องห้ามมิให้ใช้สิทธิสมัครรับเลือกตั้ง ตามมาตรา 98 ย่อมไม่สามารถสมัครรับเลือก ส.ว.ด้วย คือบุคคลที่มีลักษณะดังนี้
ทั้งนี้ รัฐธรรมนูญ 2560 ไม่มีบทบัญญัติใด ที่ให้ประชาชนเข้าชื่อถอดถอนส.ว.ได้ จะมีเพียง 3 มาตราเท่านั้น ที่ให้ประชาชนสามารถเข้าชื่อกันได้ ได้แก่