"เนชั่นโพล" สำรวจความคิดเห็นประชาชนทั่วประเทศ เรื่องการเลือกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรปี พ.ศ. 2566 ครั้งที่ 2 โดยได้ลงพื้นที่สำรวจในเป็นรูปแบบที่น่าเชื่อถือที่สุดของประวัติศาสตร์การสำรวจหรือทำโพล ซึ่งการทำโพลครั้งนี้ มีข้อมูลที่น่าสนใจเกี่ยวในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับคะแนน "สวิงโหวต" หรือ ความน่าจะเป็นของเขตเลือกตั้งที่มีโอกาสเปลี่ยนพรรคที่นำเพิ่มขึ้น เป็น 55 เขต
ทั้งนี้ฐานเศรษฐกิจ ขอสรุปข้อมูลการสำรวจ "สวิงโหวต" ซึ่งสามารถเปลี่ยนพรรคได้ หรือมีการแข่งขันสูง และสูสีในเขตการเลือกตั้งทั้ง 55 เขต ทั่วประเทศ
55 เขตเลือกตั้งที่มีโอกาสเปลี่ยนพรรคที่นำ
สุราษฎร์ธานี เขตเลือกตั้งที่ 4 จำนวนพรรคที่มีโอกาส 3 พรรค
ตรัง เขตเลือกตั้งที่ 4 จำนวนพรรคที่มีโอกาส 3 พรรค
พิจิตร เขตเลือกตั้งที่ 1 จำนวนพรรคที่มีโอกาส 3 พรรค
ราชบุรี เขตเลือกตั้งที่ 4 จำนวนพรรคที่มีโอกาส 3 พรรค
สุราษฎร์ธานี เขตเลือกตั้งที่ 7 จำนวนพรรคที่มีโอกาส 3 พรรค
สมุทรปราการ เขตเลือกตั้งที่ 4 จำนวนพรรคที่มีโอกาส 2 พรรค
สมุทรปราการ เขตเลือกตั้งที่ 2 จำนวนพรรคที่มีโอกาส 2 พรรค
ปราจีนบุรี เขตเลือกตั้งที่ 2 จำนวนพรรคที่มีโอกาส 2 พรรค
กรุงเทพมหานคร เขตเลือกตั้งที่ 31 จำนวนพรรคที่มีโอกาส 2 พรรค
กรุงเทพมหานคร เขตเลือกตั้งที่ 33 จำนวนพรรคที่มีโอกาส 2 พรรค
เชียงราย เขตเลือกตั้งที่ 1 จำนวนพรรคที่มีโอกาส 2 พรรค
สงขลา เขตเลือกตั้งที่ 4 จำนวนพรรคที่มีโอกาส 2 พรรค
สงขลา เขตเลือกตั้งที่ 9 จำนวนพรรคที่มีโอกาส 2 พรรค
นครราชสีมา เขตเลือกตั้งที่ 10 จำนวนพรรคที่มีโอกาส 2 พรรค
สุราษฎร์ธานี เขตเลือกตั้งที่ 5 จำนวนพรรคที่มีโอกาส 2 พรรค
สุรินทร์ เขตเลือกตั้งที่ 2 จำนวนพรรคที่มีโอกาส 2 พรรค
นครสวรรค์ เขตเลือกตั้งที่ 6 จำนวนพรรคที่มีโอกาส 2 พรรค
สุโขทัย เขตเลือกตั้งที่ 2 จำนวนพรรคที่มีโอกาส 2 พรรค
ตรัง เขตเลือกตั้งที่ 3 จำนวนพรรคที่มีโอกาส 2 พรรค
สระแก้ว เขตเลือกตั้งที่ 2 จำนวนพรรคที่มีโอกาส 2 พรรค
พิจิตร เขตเลือกตั้งที่ 3 จำนวนพรรคที่มีโอกาส 2 พรรค
กำแพงเพชร เขตเลือกตั้งที่ 3 จำนวนพรรคที่มีโอกาส 2 พรรค
นราธิวาส เขตเลือกตั้งที่ 2 จำนวนพรรคที่มีโอกาส 2 พรรค
กาญจนบุรี เขตเลือกตั้งที่ 3 จำนวนพรรคที่มีโอกาส 2 พรรค
สมุทรสาคร เขตเลือกตั้งที่ 2 จำนวนพรรคที่มีโอกาส 2 พรรค
สุพรรณบุรี เขตเลือกตั้งที่ 4 จำนวนพรรคที่มีโอกาส 2 พรรค
นครปฐม เขตเลือกตั้งที่ 5 จำนวนพรรคที่มีโอกาส 2 พรรค
นนทบุรี เขตเลือกตั้งที่ 2 จำนวนพรรคที่มีโอกาส 2 พรรค
นนทบุรี เขตเลือกตั้งที่ 4 จำนวนพรรคที่มีโอกาส 2 พรรค
เพชรบุรี เขตเลือกตั้งที่ 1 จำนวนพรรคที่มีโอกาส 2 พรรค
เพชรบุรี เขตเลือกตั้งที่ 3 จำนวนพรรคที่มีโอกาส 2 พรรค
อุทัยธานี เขตเลือกตั้งที่ 2 จำนวนพรรคที่มีโอกาส 2 พรรค
ชุมพร เขตเลือกตั้งที่ 1 จำนวนพรรคที่มีโอกาส 2 พรรค
ลพบุรี เขตเลือกตั้งที่ 2 จำนวนพรรคที่มีโอกาส 2 พรรค
ลพบุรี เขตเลือกตั้งที่ 3 จำนวนพรรคที่มีโอกาส 2 พรรค
ลพบุรี เขตเลือกตั้งที่ 4 จำนวนพรรคที่มีโอกาส 2 พรรค
สมุทรสาคร เขตเลือกตั้งที่ 3 จำนวนพรรคที่มีโอกาส 2 พรรค
นครพนม เขตเลือกตั้งที่ 4 จำนวนพรรคที่มีโอกาส 2 พรรค
ร้อยเอ็ด เขตเลือกตั้งที่ 3 จำนวนพรรคที่มีโอกาส 2 พรรค
สกลนคร เขตเลือกตั้งที่ 5 จำนวนพรรคที่มีโอกาส 2 พรรค
บุรีรัมย์ เขตเลือกตั้งที่ 4 จำนวนพรรคที่มีโอกาส 2 พรรค
บุรีรัมย์ เขตเลือกตั้งที่ 5 จำนวนพรรคที่มีโอกาส 2 พรรค
ศรีสะเกษ เขตเลือกตั้งที่ 5 จำนวนพรรคที่มีโอกาส 2 พรรค
เพชรบูรณ์ เขตเลือกตั้งที่ 6 จำนวนพรรคที่มีโอกาส 2 พรรค
ชัยภูมิ เขตเลือกตั้งที่ 2 จำนวนพรรคที่มีโอกาส 2 พรรค
ชัยภูมิ เขตเลือกตั้งที่ 4 จำนวนพรรคที่มีโอกาส 2 พรรค
นครราชสีมา เขตเลือกตั้งที่ 1 จำนวนพรรคที่มีโอกาส 2 พรรค
อุบลราชธานี เขตเลือกตั้งที่ 7 จำนวนพรรคที่มีโอกาส 2 พรรค
อุบลราชธานี เขตเลือกตั้งที่ 2จำนวนพรรคที่มีโอกาส 2 พรรค
พิษณุโลก เขตเลือกตั้งที่ 4 จำนวนพรรคที่มีโอกาส 2 พรรค
นครศรีธรรมราช เขตเลือกตั้งที่ 10 จำนวนพรรคที่มีโอกาส 2 พรรค
สมุทรปราการ เขตเลือกตั้งที่ 8 จำนวนพรรคที่มีโอกาส 2 พรรค
ระยอง เขตเลือกตั้งที่ 2 จำนวนพรรคที่มีโอกาส 2 พรรค
ปราจีนบุรี เขตเลือกตั้งที่ 1 จำนวนพรรคที่มีโอกาส 2 พรรค
นครนายก เขตเลือกตั้งที่ 1 จำนวนพรรคที่มีโอกาส 2 พรรค
ทั้งนี้ การจัดทำ "เนชั่นโพลครั้งที่ 2" ประกาศผลสำรวจ ณ วันที่ 5 พ.ค.2566 สำรวจโดยใช้ตัวอย่างทั้งสิ้น จำนวน 115,399 ตัวอย่าง แบ่งเป็น กทม.จำนวน 35,969 ตัวอย่าง และภูมิภาค 79,430 ตัวอย่าง
(การสำรวจในต่างจังหวัด 367 เขต ทีมลงพื้นที่สำรวจระหว่าง 24 เม.ย. - 3 พ.ค. และการสำรวจใน กทม. 33 เขต ทีมลงพื้นที่สำรวจระหว่าง 28 เม.ย. - 3 พ.ค. มีค่าความคลาดเคลื่อน (error) ดังนี้ กทม.33 เขต = 3% , เขตเมืองสำคัญต่างจังหวัด 8 เขต = 5% , เขตเลือกตั้ง 359 เขต = 7%)