สรุปสาระสำคัญร่าง ก.ม.สมรสเท่าเทียม และ สิทธิประโยชน์คู่สมรสพึงจะได้รับ

28 มี.ค. 2567 | 04:11 น.
อัปเดตล่าสุด :28 มี.ค. 2567 | 04:21 น.

สรุปสาระสำคัญร่าง ก.ม.สมรสเท่าเทียม และ สิทธิประโยชน์ที่คู่สมรสทั้งสองฝ่ายพึงจะได้มีอะไรบ้างคลิกอ่านด่วนที่นี่มีคำตอบ

สมรสเท่าเทียม เมื่อวานนี้ 27 มีนาคม 2567 สภาผู้แทนราษฏร ได้ผ่านวาระ 3 ด้วยคะแนน 400 เสียงอย่างเป็นเอกฉันท์ สำหรับขั้นตอนหลังจากนี้ สภาฯ นำเรื่องร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียม นำเสนอให้กับวุฒิสภาพิจารณาอีกชั้นหนึ่ง

สรุปสาระสำคัญของร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียม

เดิม

สมรส : ชาย-หญิง,สามี/ภรรยา

หมั้น : ชาย – หญิง

อายุหมั้น/สมรส: 17 ปี

ฟ้องหย่ากรณีมีชู้เพศเดียวกัน : ทำไม่ได้

ใหม่

สมรส : บุคคล/คู่สมรส

หมั้น : บุคคล/ผู้หมั้น  – ผู้รับหมั้น

อายุหมั้น/สมรส: 18 ปี

ฟ้องหย่ากรณีมีชู้เพศเดียวกัน : ทำได้

สมรสเท่าเทียม

 

สิทธิประโยชน์สมรสเท่าเทียม “คู่สมรส”

สิทธิจัดการทรัพย์สินของคู่สมรส

สิทธิเป็นผู้จัดการแทนในทางอาญา เช่นเดียวกับสามี-ภรรยา

สิทธิประโยชน์ "คู่สมรส"

สิทธิจัดการทรัพย์สินของคู่สมรส

สิทธิเป็นผู้จัดการแทนในทางอาญา เช่นเดียวกับสามี-กรรยา

สิทธิรับมรดกหากอีกพ่ายเสียชีวิต

สิทธิรับบุตรบุญธรรม

สิทธิการลงนามยินยอมให้รักษาพยาบาลอีกฝ่าย

สิทธิจัดการศพ

สิทธิได้รับประโยชน์ และสวัสดิการจากรัฐในฐานะคู่สมรส เช่น สิทธิประกันสังคม

สิทธิเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาล

คู่สมรส สามารถรับบุตรบุญธรรมร่วมกันได้ พร้อมรับรองถึงกฎหมาย หรือระเบียบ ข้อบังคับ

มติ ครม.ใด อ้างถึงสามี ภริยา หรือสามีภริยา ให้ถือว่าอ้างตามคู่สมรสที่งดทะเบียน ตามกฎหมายสมรสเท่าเทียม.