ปัญหาหนี้ครัวเรือนเป็นปัญหาเรื้อรังของเศรษฐกิจไทยที่ต้องเร่งแก้ไขซึ่งการแก้ปัญหาดังกล่าวนี้ต้องร่วมกันแก้ไขอย่างถูกต้องทั้งฝั่งของ เจ้าหนี้ และ ลูกหนี้ ที่ต้องช่วยกัน โดย ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) มีคำแนะนำกรณีหากต้องการแก้หนี้ครัวเรือนให้ประสบความสำเร็จ "ไม่ควรทำ" 5 ข้อนี้เพราะหากทำแล้วจะเกิดผลเสียตามมา ดังนี้
1.มาตรการพักชำระหนี้เป็นวงกว้างเป็นเวลา
ผลเสียที่จะเกิดขึ้นกับ "ลูกหนี้"
ผลเสียที่จะเกิดขึ้นกับ "สถาบันการเงิน"
2.มาตรการลบ / แก้ประวัติข้อมูลเครดิตของลูกหนี้ (NCB)
ผลเสียที่จะเกิดขึ้นกับ "ลูกหนี้"
ผลเสียที่จะเกิดขึ้นกับ "สถาบันการเงิน"
3.ผ่อนชำระขั้นต่ำต่อเนื่อง (บัตรเครดิต บัตรกดเงินสด)
ผลเสียที่จะเกิดขึ้นกับ "ลูกหนี้"
4.กู้หนี้ใหม่โปะหนี้เก่า (โดยเฉพาะกรณีกู้หนี้ใหม่ที่ดอกเบี้ยแพงขึ้น เช่น กดเงินจากบัตรกดเงินสดมาจ่ายหนี้บัตรเครติต)
ผลเสียที่จะเกิดขึ้นกับ "ลูกหนี้"
5.หยุดจ่ายหนี้ปล่อยเป็นหนี้เสีย
ผลเสียที่จะเกิดขึ้นกับ "ลูกหนี้"
ทั้งนี้ การแก้ปัญหาหนี้ต้องทำอย่างถูกหลักการ รู้ว่า อะไรควรทำและไม่ควรทำ และต้องรักษาสมดุลที่ดีระหว่างเจ้าหนี้และลูกหนี้ด้วย เช่น